รายงานผลงานข้อมูล 43 แฟ้มตามเงื่อนไขงบประมาณ QOF สปสช. ปี 2564

กรุณาเลือกปี
ชื่อรายงาน เป้าหมาย   ผลงาน   อัตรา
  • 1.1. QOF64 ร้อยละผู้ได้รับการคัดกรองเบาหวาน
    ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor
    A1 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74 ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือด ช่วง 1 เม.ษ 63 - 31 มี.ค.64 (โดยตัดผู้ป่วยเบาหวานออกก่อน)
    B1 = จำนวนประชาชนสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน

    สูตรการคำนวณ
    ตัวชี้วัดย่อยที่ 1.1 = (A1/B1) * 100   73,953       48,351      65.38    
  • 1.2. QOF64 ร้อยละผู้ได้รับวินิจฉัยเป็นเบาหวาน
    ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor ในจังหวัด
    A2 =จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74 ปี ใน A1 ที่มีผลระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร โดยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะเบาหวาน หรือได้รับการลงทะเบียนเป็นผู้ป่วยเบาหวาน
    B2 = จำนวนประชาชนสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ที่ได้รับการคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือดที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร

    สูตรการคำนวณ
    ตัวชี้วัดย่อยที่ 1.2 = (A2/B2) * 100   9,188       131      1.43    
  • 2.1. QOF64 ร้อยละผู้ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor ในจังหวัด
    A1 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงใน ช่วง 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564 โดยตัดผู้ที่เคยเป็นโรคความดันโลหิตสูงก่อนหน้าวันที่คัดกรองออก
    B1 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ณ วันประมวลผล ที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงก่อนวันที่ 1 เมษายน 2564

    สูตรการคำนวณ
    ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.1 = (A1/B1)* 100   66,813       42,888      64.19    
  • 2.2. QOF64 ร้อยละผู้ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงใหม่
    ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor จังหวัด
    A2 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าอายุ 35-74ปี ใน A1 ที่มีผล SBP_1 >=140 และ/หรือ DBP_1 >= 90 เคยได้รับการวินิจฉัยและได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
    B2 = จำนวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่ได้รับการคัดกรองคัดกรองความดันโลหิตสูง ตาม A1 และพบว่าค่าความดันโลหิต

    สูตรการคำนวณ
    ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.2 = (A2/B2)* 100   3,655       203      5.55    
  • 3. QOF64 ร้อยละหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์
    ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor ในจังหวัด
    A=จํานวนหญิงมีครรภ์สิทธิประกันสุชภาพถ้วนหน้าทุกรายในหน่วยบริการที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก โดยอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ที่ได้รับบริการ ภายในวันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
    B=จํานวนหญิงมีครรภ์สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าทุกรายที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ภายในวันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564 ในหน่วยบริการทั้งหมด

    สูตรการคำนวณ ตัวชี้วัด
    (A/B) x 100   1,060       278      26.23    
  • 4. QOF64 ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี อายุ 30-60 ปี ภายใน 5 ปี
    ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor ในจังหวัด
    A=จํานวนสตรีสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า อายุ 30-60 ปี ที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกรายใหม่สะสม ตั้งแต่ 1 เมษายน 2559 - 31 มีนาคม 2564 จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน
    B=จํานวนหญิงไทยสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เกิดในช่วง 1 เมษายน 2504 ถึง 30 มีนาคม 2533 จัดกลุ่มตามหน่วย ลงทะเบียน

    สูตรการคำนวณ
    (A/B) X 100   32,225       15,834      49.14    
  • 5.1. QOF64 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea)
    ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor ในจังหวัด
    A = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่ได้รับยาปฏิชีวนะ
    B = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันทั้งหมด

    สูตรการคำนวณ
    (A/B) x 100   4,432       688      15.52    
  • 5.2. QOF64 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection : RI)
    ตัวชี้วัดนี้เป็นตัวชี้วัดกลาง สปสช. (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง) ตัวเลขเป้าหมายและผลงานคำนวนแบบเว็บเขตฯ 6 เพื่อ Monitor ในจังหวัด
    A = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ
    B = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ทั้งหมด

    สูตรการคำนวณ
    (A/B) x 100   26,590       2,310      8.69    
  • 7.1. QOF64 การคัดกรองซึมเศร้าในกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด (ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป)
    ตัวชี้วัดระดับเขต
    A = ประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปทุกสิทธิจากฐานข้อมูล สปสช. (typearea 1,3)ที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ได้รับคัดกรองซิมเศร้า 2Q และ 9Q ในแฟ้ม Specialpp ได้รับบริการในช่วง 1 เม.ษ. 63 ถึง 31 มี.ค.64
    B = ประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปทุกสิทธิจากฐานข้อมูล สปสช. (typearea 1,3)ที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง   18,677       12,010      64.30    
  • 7.2. QOF64 การคัดกรองซึมเศร้าในกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด (ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง)
    ตัวชี้วัดระดับเขต
    C = ประชากรที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังทุกสิทธิจากฐานข้อมูล สปสช. (typearea 1,3) ได้รับคัดกรองซิมเศร้า 2Q และ 9Q ในแฟ้ม Specialpp ได้รับบริการในช่วง 1 เม.ษ. 63 ถึง 31 มี.ค.64
    D = ประชากรที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังทุกสิทธิจากฐานข้อมูล สปสช. (typearea 1,3)   32,784       23,579      71.92    
  • 8. QOF64 เด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ พบสงสัยล่าช้า
    ตัวชี้วัดระดับเขต
    A = จำนวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกสิทธิจากฐานข้อมูลของ สปสช. ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (Type 1,3) ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเผ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM)
    ครั้งแรก แล้วพบพัฒนาการล่าช้า จากแฟ้ม SPECIALPP รหัส 1B261,1B262 ที่ได้รับบริการในช่วงเวลา 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564
    B = จำนวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกสิทธิจากฐานข้อมูลของ สปสช. ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (Type 1,3) ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเผ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM)
    ครั้งแรก จากแฟ้ม Specialpp รหัส 1B260,1B261,1B262 ที่ได้รับบริการในช่วงเวลา 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564   5,432       1,123      20.67    
  • 9. QOF64 ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern Methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง เพื่อลดการตั้งครรภ์ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี
    ตัวชี้วัดระดับเขต
    A = จำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ทุกสิทธิ ที่มารับบริการด้วยการคลอด/แท้งบุตรจากแฟ้ม LABOR
    สามารถเชื่อมโยงแฟ้ม FP ภายใต้เงื่อนไขดังนี้
    -ได้รับคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่วิธีใดวิธีหนึ่ง FPTYPE = 1-7
    -ได้รับการบริการภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด DATE_SERV(FP) - BRITH(PERSON) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 42 วัน รับบริการในช่วง 1 เม.ษ. 63 ถึง 31 มี.ค. 64
    B = จำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ทุกสิทธิ ที่มารับบริการด้วยการคลอด/แท้งจากแฟ้ม LABOR   283       217      76.68    
  • 10. QOF64 อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองรายใหม่กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัดระดับเขต
    A = จำนวนผู้ป่วยอายุมากว่า 35 ปี ทุกสิทธิ จากฐานข้อมูล สปสช. ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (Type 1,3) ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง I10-I15 และได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมอง I60-I69 ภายในช่วงเวลา 1 เม.ษ 63 - 31 มี.ค. 64
    B = จำนวนผู้ป่วยอายุมากว่า 35 ปี ทุกสิทธิ จากฐานข้อมูล สปสช. ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (Type 1,3) ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง I10-I15 ภายในช่วงเวลา 1 เม.ษ 63 - 31 มี.ค. 64   15,897       225      14.15    
  • 11. จำนวนผู้รับบริการที่มี CID ไม่ตรงกับฐานข้อมูล DBPOP สปสช. ปีงบฯ 64
    A = จำนวนประชากรไทยทุกคนที่มารับบริการในหน่วยบริการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคา 2564 (ครั้ง) ที่ CID ไม่ตรงกับฐานข้อมูล DBPOP ของจังหวัดจันทบุรี
    B = จำนวนประชากรไทยทุกคนที่มารับบริการในหน่วยบริการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคา 2564 (ครั้ง)   971,597       162,334      16.71